เมื่อ 30 ม.ค. 59 นายกฤษฎา บุญราช ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยว่า ตามที่รัฐบาลได้มอบหมาย
ให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่ วยงานหลักในการขับเคลื่ อนงานโครงการตามมาตรการส่งเสริ มความเป็นอยู่ระดับตำบล
(ตำบลละ 5 ล้านบาท) เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้มี รายได้น้อย
รวมถึงประชาชนที่ได้รั บผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ เพื่อให้เกิดการจ้างงาน
การบริโภคและการลงทุ นในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น โดยกระทรวงมหาดไทยได้มีการขั บเคลื่อนการดำเนิ นงานตามมาตรการดังกล่าวมาอย่ างต่อเนื่อง
โดยได้มีการเร่งรัดการเบิกจ่ ายงบประมาณและเร่งการดำเนิ นงานในทุกๆ
โครงการในพื้นที่ เพื่อให้เม็ดเงินถึงมื อประชาชนโดยเร็วและเกิดประโยชน์ สูงสุด
และจากการดำเนินงานที่ผ่ านมาพบว่าผลการเบิกจ่ ายงบประมาณโครงการฯ
มีความล่าช้าเนื่องจากมีข้อติ ดขัดเกี่ยวกับขั้ นตอนและระบบการเบิกจ่าย
โดยกระทรวงมหาดไทยได้ร่วมกับหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องกำหนดแนวทางและมาตรในการแก้ ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว
และเพื่อให้การแก้ไขปัญหาดังกล่ าวเป็นไปตามข้อสั่งการของนายกรั ฐมนตรี
และที่ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่ อนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ จและการลงทุนของประเทศ
ซึ่งมีความห่วงใยเป็นอย่างยิ่ งและต้องการให้เร่งรัดการดำเนิ นงานให้แล้วเสร็ จภายในกำหนดระยะเวลา
(มีนาคม 2559)
ให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่
กระทรวงมหาดไทยจึงได้มีหนังสื อสั่งการไปยังผู้ว่าราชการจั งหวัดทุกจังหวัด
ให้เร่งรั ดโครงการตามมาตรการกระตุ้ นเศรษฐกิจและการลงทุ นของประเทศที่อยู่ในพื้นที่รั บผิดชอบ
โดยให้ดำเนินการ ดังนี้ 1.ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดกำกั บดูแล อำนวยการและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ ้นด้วยตนเอง โดยถือเป็นงานนโยบายสำคัญที่รั ฐบาลตั้งเป้าหมายการเบิกจ่ ายภายในเดือนกุมภาพันธ์
2559 ให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 50 พร้อมทั้งลงไปสนับสนุนและแก้ ไขปัญหาการทำงานในระดับอำเภอ
ทั้งนี้ กระทรวงมหาดไทยพร้อมให้การสนั บสนุนอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ ตามคำร้องขอของจังหวัด
หรือ จังหวัดอาจใช้วิธีระดมเจ้าหน้ าที่ไปช่วยในแต่ละพื้นที่อำเภอ
หรือกรณีอำเภอที่ประสบผลสำเร็ จแล้วให้จัดทีมงานไปช่วยเหลื ออำเภออื่นๆ
ที่ยังมีปัญหาในการดำเนินงาน
2.ให้จังหวัดตรวจสอบข้อมู ลการเบิกจ่ายงบประมาณ
และการก่อหนี้ผูกพัน จากระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e-GP)
และข้อมูลการลงระบบการบริ หารการเงินการคลังภาครัฐ (GFMIS) ทุกวัน เพื่อให้ทราบภาพรวมของการเบิกจ่ ายงบประมาณของจังหวัด
เพื่อจะได้ลงไปแก้ปัญหาได้ถูกจุ ด 3.ให้จังหวัดเร่งดำเนินการก่ อหนี้ผูกพันสำหรับโครงการที่ได้ รับอนุมัติแล้ว และหากต้องการขยายระยะเวลาดำเนิ นการ
ให้แจ้งส่วนกลางเพื่อดำเนิ นการต่อไป 4.โครงการที่มีปัญหาเกี่ยวกั บเรื่องที่ดิน เช่น กรณีโครงการที่ดำเนินการในที่ดิ นสาธารณประโยชน์
ให้เร่งดำเนินการตามมติที่ประชุ ม เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2559
และกรณีโครงการที่ดำเนินการในที ่ดินเขตป่าสงวนแห่งชาติ เขตอุทยานแห่งชาติ
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ให้ดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
5.โครงการขุดบ่อน้ำบาดาล ซึ่งจะต้องขออนุญาตในการดำเนิ นการ
โดยในพื้นที่วิกฤตให้จังหวั ดรายงานส่วนกลาง เพื่อดำเนิ นการตามระเบียบที่เกี่ยวข้องต่ อไป
5.โครงการขุดบ่อน้ำบาดาล ซึ่งจะต้องขออนุญาตในการดำเนิ
6.กรณีจังหวัดมีปัญหาเรื่ องกำหนดราคากลาง
และการปรับลดวงเงิ นงบประมาณโครงการของสำนั กงบประมาณ ซึ่งจังหวัดต้องปรับปรุงรู ปแบบรายการ
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแก้ไขปั ญหาโดยอาศัยมติคณะรัฐมนตรีที่ เกี่ยวข้อง
พร้อมทั้งจัดตั้งทีมช่าง โดยขอรับการสนับสนุนจากหน่ วยงานภายในจังหวัดและองค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และ 7.ผู้ว่าราชการจังหวัดสามารถจ้ างผู้มีความรู้ด้านการเงิน
บัญชีและพัสดุ เพื่อช่วยการปฏิบัติ งานของอำเภอและจังหวัดได้ตามบั ญชาของนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้
จังหวัดสามารถดำเนินการจัดซื้ อจัดจ้างผ่านระบบ e-GP ของกรมบัญชีกลางได้ตลอด 24 ชั่วโมง
ปลัดกระทรวงมหาดไทย กล่าวเพิ่มเติมว่า กระทรวงมหาดไทยมีความมุ่งมั่นที ่จะดูแลทุกโครงการให้บรรลุ ตามเป้าหมายของรัฐบาล
และต้องการเร่งรัดการดำเนินงาน และการเบิกจ่ายงบประมาณให้แล้ วเสร็จภายในกำหนด
โดยกำชับให้ทุกจังหวัดได้ติ ดตามและตรวจเยี่ยมในพื้นที่อย่ างใกล้ชิด
เพื่อให้เม็ดเงินที่จะลงไปช่ วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน
และพัฒนาคุณภาพชีวิตของพี่น้ องประชาชนให้มีความเป็นอยู่ที่ ดีขึ้น
โดยทุกโครงการและทุกงบประมาณ ต้องเป็นไปอย่างโปร่งใส คุ้มค่า
และเกิดประโยชน์สูงสุดต่ อประชาชน รวมทั้งก่อให้เกิดการพั ฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยื นต่อไป
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น